วันอาทิตย์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ขั้นตอนการติดตั้ง ATutor

ขั้นตอนการติดตั้ง ATutor
ก่อนการติดตั้งท่านต้องจำลองเครื่องตัวเองเป็น Web Server ก่อน สามารถเลือก Web Server ตัวใดตัวหนึ่งตามลิ้งด้านล่างนี้
โปรแกรม ลิงค์ดาวน์โหลด
WM Server http://www.cmsthailand.com/web45-47/print.php?sid=80
AppServ http://www.cmsthailand.com/web45-47/print.php?sid=2
WAMP http://www.cmsthailand.com/web45-47/print.php?sid=58

1. ดาวน์โหลดตัวติดตั้งที่ http://www.cmsthailand.com หรือที่ http://www.atutor.ca/atutor/download.php

2. หลังการดาวน์โหลดมาให้ทำการแตกไฟล์ด้วย WinRAR หรือ Winzip


รูปแสดงโฟลเดอร์หลังการแตกไฟล์
ไดเร็กทอรี่ คำอธิบาย
C:\WM\www กรณีใช้ WMServer
C:\AppServ\www กรณีใช้ AppServ
C:\InetPub\wwwroot กรณีใช้ IIS
/var/www/html กรณีใช้ระบบ Linux เก็บที่พาทหลัก
/home/username/public_html กรณีใช้ระบบ Linux เก็บที่พาทของผู้ใช้ (โดยที่ไปบนโฮสต์ติ้งจะใช้พาทนี้)

ในที่นี้ทดสอบบนเครื่องตัวเองใช้ WMServer


รูปแสดงโฟลเดอร์ห้องเก็บตัวติดตั้ง
4. ทำการสร้างฐานข้อมูลสำหรับเก็บโปรแกรม ATutor ในที่นี้สร้างโดยใช้โปรแกรม phpMyAdmin (โดยทั่วไปบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ หรือบนโฮสต์ติ้งเขามีบริการอยู่แล้ว)

สร้างฐานข้อมูลที่ต้องการเก็บ moodle ในที่นี้สร้างฐานข้อมูลชื่อว่า atutor

Note.
กรณีใช้บน Web Hosting จริงสามารถใช้ฐานข้อมูลที่ทางโฮสต์ติ้งให้มาหรือทำการสร้างใหม่ผ่านทาง Control Panel ที่ทาง hosting ให้บริการ
5. หลังการสร้างฐานข้อมูลเสร็จแล้วก็เริ่มติดตั้งโดยการพิมพ์ URL ดังนี้
URL คำอธิบาย
http://127.0.0.1/atutor/install/ กรณีติดตั้งบนเครื่องตัวเอง
http://www.sitename.com/atutor/install/ กรณีสร้างเป็นไดเร็กทอรี่ย่อยลึกลงไปอีกชั้น
http://www.sitename.com/install/ กรณีสร้างเป็นพาทหลักเว็บไซต์
http://lms.sitename.com/install/ กรณีสร้างเป็น sub domain ชื่อว่า lms

Note.
ห้องสำหรับเป็นตัวติดตั้งสามารถตั้งเป็นชื่ออื่นได้ในที่นี้ทดสอบตั้งชื่อว่า atutor

6. คลิกที่ปุ่ม Install กรณีติดตั้งเป็นครั้งแรก

7. โปรแกรมรายงานลิขสิทธิ์โปรแกรม ของ ATutor เป็นชนิด GNU General Public License (GPL)
8. คลิกปุ่ม I Agree

9. ระบุรายละเอียดฐานข้อมูล MySQL
Database Hostname: ระบุชื่อโฮสต์เนมที่เก็บฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล กรณีทดสอบบนเครื่องตัวเองให้ใส่เป็น localhost
Database Port: พฮร์ตที่ใช้เชื่อต่อปกติเป็น 3306
Database Username: ชื่อผู้ใช้ กรณีทดสอบบนเครื่องให้ใช้เป็น root
Ttabase Password: รหัสผ่าน กรณีทดสอบบนเครื่องตนเองให้ปล่อยว่างไว้
Database Name: ชื่อฐานข้อมูล ในที่นี้ชื่อว่า atutor (ได้สร้างไว้ในข้อ 4)
Table Prefix: ให้ใช้ค่าเก่าเป็น AT_

10. หลังจากระบุเสร็จให้คลิกปุ่ม Next

13. ระบบรายละเอียดผู้ควบคุมเว็บ และรายละเอียดเพิ่มเติม
14. คลิกปุ่ม Next

15. ระบุรายละเอียดผู้ใช้(ชื่ออาจารย์ : Instructor) คนแรก
16. คลิกปุ่ม Next

17. โปรแกรมแสดงพาทในการเก็บเนื้อหาต่างๆ ชื่อว่า content

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น